วันเสาร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2553

แนวคิดของทฤษฏี Constructivism


ทฤษฎีการสร้างความรู้
ประวัติศาสตร์
ในศตวรรษที่ผ่านมาค่านิยมของแนวคิดนี้ไม่แพร่หลายนัก เนื่องจากมีความเห็นว่าการเล่นของเด็กไม่สำคัญ โดยเพียเจต์ไม่เห็นด้วยกับมุมมองนี้ เขาเห็นว่าการเล่นของเด็กเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต่อการพัฒนาความรู้ความเข้าใจของเด็กและยังเป็นหลักฐานทางวิทยาศาสตร์อีกด้วย

ทฤษฎีการสร้างความรู้
รูปแบบทฤษฎีการสร้างความรู้ของเพียเจต์ กล่าวว่า กลไกการเรียนรู้อยู่ภายในตัวผู้เรียนเอง โดยผู้เรียนจะสร้างความรู้ใหม่ได้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของแต่ละบุคคลเมื่อแต่ละคนได้ซึมซับประสบการณ์ใหม่แล้วก็จะนำมารวมโครงร่างเดิมที่สร้างขึ้น แต่บางครั้งก็เกิดความล้มเหลวได้ เช่น ได้รับข้อมูลผิดๆ เกิดจากความบังเอิญ ไม่มีข้อสังเกต เป็นต้น
ธรรมชาติของผู้เรียน
+++ผู้เรียนมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
ทฤษฎีนี้มองผู้เรียนแต่ละคนเป็นบุคคลที่ไม่ซ้ำกับความต้องการและภูมิหลัง และไม่ต้องการเพียงแค่ความเป็นเอกลักษณ์ ความซับซ้อนของผู้เรียนแต่ยังต้องสนับสนุน ให้ประโยชน์และผลตอบแทนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้
+++ความสำคัญของภูมิหลังและวัฒนธรรมของผู้เรียน
ผู้เรียนเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมทางสังคมซึ่งจะต้องเรียนรู้ไปตลอดชีวิต และเน้นไปที่ปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนกับสมาชิกสังคม เด็กจะพัฒนาความสามารถในการคิดโดยมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กคนอื่นๆ กับผู้ใหญ่และสิ่งแวดล้อม
+++ ความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้
+++ แรงจูงใจในการเรียน
โดยธรรมชาติแล้วผู้เรียนต้องการแรงจูงใจมากระตุ้นให้เกิดการพัฒนาตนเอง เมื่อมีแรงกระตุ้นก็จะเกิดความมั่นใจและกล้าที่จะดึงความสามารถที่ซ่อนเร้นอยู่ในตัวออกมา รวมทั้งหากมีการแข่งขันในชั้นเรียนก็จะช่วยเพิ่มพัฒนาการ ในการเรียนรู้ได้

บทบาทของผู้สอน
+++ ผู้สอนเป็นผู้อำนวยความสะดวก
ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก แนะนำ โดยผู้เรียนจะเป็นผู้ที่มีความสำคัญที่สุดและความสำคัญของความรู้เดิมผู้เรียนจะต้องเข้าไปมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กันกับ ครู ผู้สอน หรือสิ่งแวดล้อมที่จะไปกระตุ้นผู้เรียน ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญมากที่จะช่วยชี้แนะแนวทางการคิดให้กับผู้เรียน นอกจากนี้การสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งกระตุ้นต่างๆ จะทำให้ผู้เรียนสามารถสร้างเป็นความรู้ขึ้นในสมอง
+++According to the social constructivist approach, instructors have to adapt to the role of facilitators and not teachers (Bauersfeld, 1995).Where a teacher gives a didactic lecture which covers the subject matter, a facilitator helps the learner to get to his or her own understandiThe learning environment should also be designed to support and challenge the learner's thinking (Di Vesta, 1987).สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ควรออกแบบเพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดความท้าทายความคิด The critical goal is to support the learner in becoming an effective thinker. เป้าหมายสำคัญคือการสนับสนุนผู้เรียนในการเป็นนักคิดที่มีประสิทธิภาพ This can be achieved by assuming multiple roles, such as consultant and coach.
ธรรมชาติของกระบวนการเรียนรู้
สังคมจะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อเกิดการค้นพบหลักการแนวคิด การคาดเดา และหาข้อเท็จจริงด้วยตนเอง Other constructivist scholars agree with this and emphasize that individuals make meanings through the interactions with each other and with the environment they live in. Knowledge is thus a product of humans and is socially and culturally constructed (Ernest 1991; Prawat and Floden 1994)นักวิชาการอื่น ๆ เห็นด้วยกับการเรียนที่เน้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆ และกับสภาพแวดล้อมที่พวกเขาอยู่ การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ไม่เพียงจะเกิดขึ้นภายในจิตใจแต่จะช่วยพัฒนา พฤติกรรมของเราที่แสดงออกมาภายนอกและการเรียนรู้ที่มีความหมายเกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ผู้สอนและผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกันในการเรียนรู้จากกันและกัน วัฒนธรรมและประสบการณ์ความรู้เดิมเป็นส่วนสำคัญระหว่างผู้เรียนและการทำงานตามที่ครูให้ Learners compare their version of the truth with that of the instructor and fellow learners in order to get to a new, socially tested version of truth (Kukla 2000). ผู้สอนและผู้เรียนเปรียบเสมือนเพื่อนเพื่อทดสอบการอยู่ร่วมกันในสังคม งานหรือปัญหาจึงเชื่อมต่อระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้เรียนและผู้สอนควรความตระหนักถึงมุมมองของกันและกันแล้วมองไปที่ความเชื่อของตัวเองและค่ามาตรฐานจึงเป็นทั้งผู้กระทำและเป้าหมายในเวลาเดียวกัน
ความร่วมมือระหว่างผู้เรียน
ผู้เรียนแต่ละคนจะมีความรู้เฉพาะตัวบุคคลแตกต่างกันLearners with different skills and backgrounds should collaborate in tasks and discussions in order to arrive at a shared understanding of the truth in a specific field (Duffy and Jonassen 199Most social constructivist models, such as that proposed by Duffy and Jonassen (1992), also stress the need for collaboration among learners, in direct contradiction to traditional competitive approachesความจำเป็นในการทำงานร่วมกันระหว่างผู้เรียนอาจเกิดความขัดแย้ง One Vygotskian notion that has significant implications for peer collaboration, is that of the zone of proximal development. หนึ่งแนวคิด ที่มีผลสำคัญสำหรับความร่วมมือจากเพื่อนคือเข กำหนดเป็นระยะห่างระหว่างระดับพัฒนาการ พิจารณาจากการแก้ปัญหาและระดับของการพัฒนาศักยภาพตามที่กำหนดโดยการแก้ปัญหาภายใต้คำแนะนำผู้ใหญ่หรือร่วมกับเพื่อน

1 ความคิดเห็น:

  1. การนำไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน
    ครูควรส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างตื่นตัว (active) กล่าวคือเป็นผู้ที่มิใช่เพียงรับข้อมูลความรู้เท่านั้น แต่จะต้องเป็นผู้จัดกระทำกับข้อมูลหรือประสบการณ์ต่างๆ และสร้างความหมายของสิ่งนั้นด้วยตนเอง
    ครูควรสร้างบรรยากาศทางสังคมจริยธรรม (sociomoral) ให้เกิดขึ้นเนื่องจากปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเป็นปัจจัยสำคัญของการสร้างความรู้ การร่วมมือการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดและประสบการณ์ระหว่างผู้เรียนและบุคคลอื่นจะช่วยให้การเรียนรู้ของผู้เรียนกว้างขวางขึ้น
    ครูควรส่งเสริมให้ผู้เรียนนำตนเอง และควบคุมตนเองในการเรียนรู้
    ครูจำเป็นต้องเปลี่ยนบทบาทตนเองจากผู้ถ่ายทอดความรู้และควบคุมการเรียนรู้ไปเป็นผู้ช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้ ทำหน้าที่ช่วยสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน จัดเตรียมกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความสนใจและความต้องการของผู้เรียน ให้คำปรึกษาแนะนำทางด้านวิชาการและด้านสังคมให้ความช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหา และประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน
    ครูควรประเมินผลในลักษณะที่เป็น goal free evaluation กล่าวคือ เป็นการประเมินตามจุดมั่งหมายของผู้เรียนแต่ละคนและการวัดผลควรใช้วิธีการหลากหลายโดยอาศัยบริบทจริง เนื่องจากการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ขึ้นกับความสนใจและการสร้างความหมายที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล

    ตอบลบ